7 วัตถุดิบเพื่อมื้ออาหารสุด Healthy

สังขารของคนเรานั้นไม่เที่ยงแท้ สิ่งที่เราพอจะทำได้มีเพียงหมั่นดูแลรักษาสุขภาพเพื่อชะลอความเสื่อมถอยของร่างกาย ปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่เป็นตัวบ่งชี้ว่าสุขภาพของเราจะเป็นอย่างไรต่อก็คือ “อาหาร” คุณอาจจะลองมองหาทางเลือกใหม่ให้กับมื้ออาหารของคุณด้วยการลองเปลี่ยนแนวทางการรับประทานอาหารให้ Healthy ยิ่งขึ้น แต่โดยปกติแล้วอาหารเพื่อสุขภาพมักมีราคาที่สูงเมื่อเทียบกับอาหารทั่วๆ ไป ดังนั้น คงไม่ใช่เรื่องเสียหายถ้าคุณจะลองเตรียมตัวเองให้พร้อมแล้วเข้าครัวเพื่อเตรียมมื้ออาหารสุดพิเศษด้วยตัวเอง และเพื่อให้เกิดไอเดีย เราจึงขอนำเสนอ 7 วัตถุดิบเพื่อมื้ออาหารสุด Healthy เพื่อให้เมนูที่คุณปรุงขึ้นมาไม่ซ้ำซากและจำเจ ดังต่อไปนี้ ถั่วลูกไก่ (Chickpeas) สามารถนำไปประกอบอาหารได้หลากหลายชนิด ไม่ว่าจะนำไปเป็นส่วนประกอบในสลัดผักหรือนำไปปั่นจนเป็นเนื้อครีมข้นแล้วใช้ทำเครื่องแกงแทนการใช้กะทิก็ได้ ในถั่วลูกไก่มีใยอาหารและพลังงานสูง เมื่อรับประทานแล้วจะทำให้รู้สึกอิ่มนานเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการลดน้ำหนัก ควีนัว “7 วัตถุดิบเพื่อมื้ออาหารสุด Healthy”

สภาวะขาโก่ง

สภาวะขาโก่งแบบต่างๆที่ควรรู้

“ขาโก่ง” หรือภาวะขาโก่ง (ภาษาอังกฤษ : Bowlegs) เป็นภาวะทีขาทั้งสองข้างมีรูปร่างโค้งงอ จนไม่สามารถทำให้หัวเข่าข้างซ้ายและขวามาแตะกันได้ตามปกติ ภาวะนี้มักเกิดขึ้นกับเด็กแรกเกิดที่อายุต่ำกว่า 18 เดือน สาเหตุที่มักเกิดกับเด็กแรกเกิดนั้นเป็นเพราะว่า เมื่อตอนที่เด็กยังอยู่ในครรภ์ของมารดาพวกเขาอยู่ในท่าที่ขดตัวจึงส่งผลต่อรูปร่างของขาหลังจากที่คลอดออกมาแล้วด้วย แต่อย่างไรก็ดี หลังจากที่เด็กเติบโตขึ้นและอยู่ในวัยที่หัดเดินและเริ่มที่จะต้องแบกรับน้ำหนักตัว ขาของเด็กจะค่อยๆ เหยียดตรงและไม่โค้งโก่งอีกต่อไป ดังนั้น จึงไม่มีความจำเป็นที่พ่อแม่หรือผู้ใหญ่จะต้องดัดขาเด็กหรือพยายามทำให้ขาเด็กเหยียดตรงก่อนวัยอันควร แต่ถ้าหากสภาวะขาโก่งนั้นไม่หายไปหลังจากที่เด็กสามารถเดินได้แล้ว นั่นเป็นสัญญาณว่าเด็กคนนั้นอาจจะมีความผิดปกติที่ส่งผลให้ขายังคงโก่งอยู่แม้ว่าจะเลยวัยหัดเดินมาแล้ว ซึ่งต้นเหตุหรืออาการป่วยที่ก่อให้เกิดสภาวะขาโก่งนั้นสามารถจำแนกออกมาเป็น 5 หัวข้อหลักๆ ดังนี้ กระดูกขาเจริญเติบโตอย่างผิดปกติ “สภาวะขาโก่งแบบต่างๆที่ควรรู้”

5 วิธีการแก้ไขอาการนอนไม่หลับที่มีการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์แล้ว

รวมวิธีการแก้ไขอาการนอนไม่หลับที่ได้ผลจริงมีการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์แล้วว่าหากเอาวิธีการเหล่านี้ไปใช้ (ตลอดชีวิตนะไม่ใช่แค่วันสองวัน) จะช่วยเพิ่มคุณภาพในการนอนหลับได้อย่างแน่นอน นอกจากนี้แล้วยังมีวิธีเบสิคที่จะทำให้คุณง่วงหรือนอนหลับได้ง่ายมากขึ้นนั้นคือการอ่านหนังสือก่อนนอน , การออกกำลังกายอย่างเพียงพอ , การเข้านอนให้ตรงเวลา ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติเป็นประจำ คือให้มันกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตไปเลย แล้วท่านจะนอนหลับง่ายมากขึ้นแน่นอน 1.คุณต้องมีเตียงที่นอนได้สบาย ทำยังไงก็ได้ให้เตียงของคุณสร้างความรู้สึกสบายให้กับคุณมากที่สุด ซึ่งเจ้าของเตียงแต่ละคนก็จะมีวิธีการที่แตกต่างกันไปเพราะคนเราชอบอะไรไม่เหมือนกัน ส่วนเรื่องความเชื่อที่ว่าให้ไปนอนบนพื้นแข็งๆแล้วจะหลับง่ายขึ้นนั้นไม่เป็นความจริง ให้เปลี่ยนไปใช้วิธีที่ได้ผลจะดีกว่า ไอเดียสำหรับใช้ในการจัดเตียงก็มีดังนี้ 1.ให้ทดลองเปลี่ยนหมอนไปเรื่อยๆจนกว่าคุณจะเจอหมอนที่สามารถทำให้คุณรู้สึกสบายได้จริงๆ คุณอาจใช้ปลอกหมอนน่ารักๆ หรือเป็นปลอกหมอนที่ทำด้วยผ้านุ่ม 2.จัดเตียงให้ดูดีเป็นระเบียบตลอดเวลา 3.ใช้แผ่นรองที่นอนอุ่น หรือแผ่นรองที่นอนไฟฟ้าเพื่อเพิ่มความอบอุ่นในช่วงที่มีอากาศหนาวจัด 4.ใช้น้ำมันหอมระเหยเพื่อสร้างบรรยากาศและความรู้สึกน่านอน 2.การดื่มชาสมุนไพร “5 วิธีการแก้ไขอาการนอนไม่หลับที่มีการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์แล้ว”

โรคหัด

โรคหัด อันตรายที่ไม่ควรมองข้าม

ปัจจุบัน ใน 4 จังหวัดทางภาคใต้ของประเทศไทย กำลังเกิดวิกฤตโรคหัดระบาด สืบเนื่องมาจากประชาชนบางกลุ่มได้รับข้อมูลข่าวสารที่ผิดๆ เกี่ยวกับการฉีดวัคซีน ก่อให้เกิดการต่อต้านวัคซีนและไม่ยอมพาลูกหลานไปฉีดวัคซีนอย่างที่ควรจะเป็น เชื้อไวรัสโรคหัดจึงแพร่กระจาย ทำให้เด็กๆ ในภาคใต้หลายคนต้องทนทุกข์ทรมานกับการติดเชื้อไวรัสโรคหัด หนำซ้ำผู้ป่วยด้วยโรคหัดบางรายในภาคใต้ที่เสียชีวิตไปแล้วก็มี บทความตอนนี้จะพาผู้อ่านไปทำความรู้จักและเข้าใจกับโรคหัด ว่าเพราะเหตุใดจึงเป็นโรคที่อันตรายและสมควรที่จะป้องกันไม่ให้ลูกหลานของเราต้องเป็นโรคนี้ โรคหัด หรือ Measles เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัสรูบิโอลา (rubeola virus) ซึ่งสามารถแพร่กระจายและติดต่อผ่านทางอากาศได้ โดยเชื้อไวรัสจะแพร่กระจายออกมาเมื่อผู้ป่วยมีอาการไอหรือจาม นอกจากนี้ยังเชื้อไวรัสยังสามารถแฝงมากับสารคัดหลั่ง เช่น น้ำลายหรือน้ำมูก “โรคหัด อันตรายที่ไม่ควรมองข้าม”

สภาวะขาโก่ง

สภาวะขาโก่งแบบต่างๆที่ควรรู้

“ขาโก่ง” หรือภาวะขาโก่ง (ภาษาอังกฤษ : Bowlegs) เป็นภาวะทีขาทั้งสองข้างมีรูปร่างโค้งงอ จนไม่สามารถทำให้หัวเข่าข้างซ้ายและขวามาแตะกันได้ตามปกติ ภาวะนี้มักเกิดขึ้นกับเด็กแรกเกิดที่อายุต่ำกว่า 18 เดือน สาเหตุที่มักเกิดกับเด็กแรกเกิดนั้นเป็นเพราะว่า เมื่อตอนที่เด็กยังอยู่ในครรภ์ของมารดาพวกเขาอยู่ในท่าที่ขดตัวจึงส่งผลต่อรูปร่างของขาหลังจากที่คลอดออกมาแล้วด้วย แต่อย่างไรก็ดี หลังจากที่เด็กเติบโตขึ้นและอยู่ในวัยที่หัดเดินและเริ่มที่จะต้องแบกรับน้ำหนักตัว ขาของเด็กจะค่อยๆ เหยียดตรงและไม่โค้งโก่งอีกต่อไป ดังนั้น จึงไม่มีความจำเป็นที่พ่อแม่หรือผู้ใหญ่จะต้องดัดขาเด็กหรือพยายามทำให้ขาเด็กเหยียดตรงก่อนวัยอันควร แต่ถ้าหากสภาวะขาโก่งนั้นไม่หายไปหลังจากที่เด็กสามารถเดินได้แล้ว นั่นเป็นสัญญาณว่าเด็กคนนั้นอาจจะมีความผิดปกติที่ส่งผลให้ขายังคงโก่งอยู่แม้ว่าจะเลยวัยหัดเดินมาแล้ว ซึ่งต้นเหตุหรืออาการป่วยที่ก่อให้เกิดสภาวะขาโก่งนั้นสามารถจำแนกออกมาเป็น 5 หัวข้อหลักๆ ดังนี้ กระดูกขาเจริญเติบโตอย่างผิดปกติ “สภาวะขาโก่งแบบต่างๆที่ควรรู้”